21 กุมภาพันธ์ 2558

จำหน่ายเชื้อบีที พร้อมใช้งาน


  สวนวัฒนาการเกษตร ได้จัดจำหน่ายเชื้อบีทีพร้อมใช้งาน 

สำหรับกำจัดแมลงศัตรูพืชต่างๆ ใช้ได้ทั้งพืชไร่และพืชสวน

ถังหมักน้ำเชื้อบีที


จำหน่าย น้ำเชิ้อบีที 
ราคา     20 บาท / ต่อลิตร
ติดต่อสอบถาม  089-6114398 


เชื้อบีทีที่นำมาใช้


คุณสมบัติของเชื้อบีที

     เชื้อแบคทีเรีย บาซิลัส ทูริงเยนซิส หรือ บีที  เป็นจุลินทรีย์ชนิดหนึ่งในธรรมชาติที่มีฤทธิ์ในการทำลายแมลง โดยเฉพาะหนอนผีเสื้อ ที่เป็นศัตรูของพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจหลายชนิด  เมื่อหนอนกินเชื้อ บี ที เข้าไปสารพิษที่ บี ที สร้างขึ้นจะไปมีผลทำให้ระบบย่อยอาหาร ของแมลงล้มเหลว กระเพาะบวมเต่งและแตก จึงสามารถใช้ในการควบคุม หนอนผีเสื้อ ศัตรูพืชหลายชนิดที่ดื้อต่อสารเคมีได้ดี ในขณะเดียวกันเชื้อ บี ที ยังเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่ไม่เป็นพิษต่อมนุษย์  สัตว์  และไม่มีพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม


ลักษณะอาการของหนอนเมื่อได้รับเชื้อบีที

  • หนอนหยุดกินอาหาร
  • เป็นอัมพาต ตายคงรูปร่างแห้ง และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล
  • เคลื่อนไหวช้าลง
  • หนอนจะตายภายใน 2-3 วัน
หนอนที่โดนเชื้อบีที

การใช้เชื้อบีที

  1. ต้องพ่นในเวลาเย็น
  2. ต้องผสมสารจับใบ 
  3. ปรับหัวฉีดให้มีลักษณะละอองเล็กที่สุด เพื่อให้จับติดส่วนของใบพืช
  4. เชื้อที่ขยายแล้วควรเก็บไม่เกิน 4-6 เดือน (ต้องใช้ให้หมด)





เชื้อ บีทีเข้าทำลายแมลงโดยเมื่อหนอนกินสปอร์และผลึกโปรตีนของเชื้อเข้าสู่กระเพาะ อาหาร น้ำย่อยใน กระเพาะอาหารของแมลงที่มีความเป็นกรด - ด่าง เหมาะสมกับเชื้อบีที จะย่อยผลึกโปรตีนและ เชื้อบีที จะปล่อยสารพิษออกมาทำลายผนังกระเพาอาหารของหนอนศัตรูพืช บีทีจะผ่านเข้าสู่ช่องว่างลำตัวแมลง ซึ่งจะมีกระแสเลือดไหลเวียนอยู่ ไป - See more at: http://www.amnuaykaset.com/PD321712-%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2.html#sthash.QaM3rWb4.dpuf
ควบคุม
ควบคุม
ควบคุม
ควบ คุมตัวอ่อน(หนอน)ของหนอนใยผัก หนอนผีเสื้อกะหล่ำ หนอนคืบ กะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก และหนอนเจาะผล มะเขือเทศ - See more at: http://www.amnuaykaset.com/PD321712-%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2.html#sthash.QaM3rWb4.dpuf
ควบ คุมตัวอ่อน(หนอน)ของหนอนใยผัก หนอนผีเสื้อกะหล่ำ หนอนคืบ กะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก และหนอนเจาะผล มะเขือเทศ - See more at: http://www.amnuaykaset.com/PD321712-%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2.html#sthash.QaM3rWb4.dpuf
ควบ คุมตัวอ่อน(หนอน)ของหนอนใยผัก หนอนผีเสื้อกะหล่ำ หนอนคืบ กะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก และหนอนเจาะผล มะเขือเทศ - See more at: http://www.amnuaykaset.com/PD321712-%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2.html#sthash.QaM3rWb4.dpuf
ควบ คุมตัวอ่อน(หนอน)ของหนอนใยผัก หนอนผีเสื้อกะหล่ำ หนอนคืบ กะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก และหนอนเจาะผล มะเขือเทศ - See more at: http://www.amnuaykaset.com/PD321712-%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2.html#sthash.QaM3rWb4.dpuf
ควบ คุมตัวอ่อน(หนอน)ของหนอนใยผัก หนอนผีเสื้อกะหล่ำ หนอนคืบ กะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก และหนอนเจาะผล มะเขือเทศ - See more at: http://www.amnuaykaset.com/PD321712-%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2.html#sthash.QaM3rWb4.dpuf


15 กุมภาพันธ์ 2558

จัดจำหน่ายขี้ไก่ไข่,ขี้ไก่แห้ง

   สวนวัฒนาการเกษตรได้จัดจำหน่าย ปุ๋ยขี้ไก่ แห้ง สำหรับใส่พืชผลของท่าน 

เพิ่มคุณค่าของดิน 


ปู๋ยขี้ไก่


ผลผลิตที่ได้นำปุ๋ยไปใช้
  • ต้นมะพร้าว
ปุ๋ยขี้ไก่

  • ต้นขนุน
10628461_904176782929357_8191812889506330127_n

 รับประกันของคุณภาพที่ดี ติดต่อสอบถามได้ที่นี่

คุณจิตธิเชียร 089-6114398 , 081-6597119
https://www.facebook.com/wattanagarden

 หรือที่อีเมล์ wattanagardens@gmail.com

มารู้จักกับหนอนหัวดำมะพร้าว

      บทความนี้จะขอนำเสนอ หนอนหัวดำ ที่เป็นศัตรูพืชของสวนมะพร้าวกันครับ ซึ่งเป็นปัญหาหนักของชาวเกษตรกรเป็นอย่างมาก จนทำให้ผลผลิตก็จะลดลงตามมา แต่หลายคนก็ยังไม่ทราบกันดีว่าหนอนหัวดำ มันคือตัวอะไร ทำไมชาวสวนมะพร้าวจึงต้อง ผวาและอยากกำจัดมันมาก

หนอนหัวดำ

      ทางชีววิทยา
  • มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Opisina arenosella Walker มีชื่อสามัญภาษาอังกฤษว่า Coconut black-headed caterpillar
  • ขนาดลำตัววัดจากหัวถึงปลายท้อง ยาวประมาณ 1 - 1.2 เซนติเมตร
  • ปีกสีเทาอ่อน มีจุดสีเทาเข้มที่ปลายปีก ลำตัวแบน
  • ระยะหนอน  32 - 48 วัน มีการลอกคราบ 6 - 10 ครั้ง
  • เวลากลางวันจะเกาะนิ่งหลบอยู่ใต้ใบมะพร้าวหรือในที่ร่ม
  • หนอนหัวดำมะพร้าวตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน 
  • ผีเสื้อเพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย
  • ตัวเมียจะวางไข่ประมาณ 200 ฟอง

      ต้นกำเนิดหนอนหัวดำ

          หนอนหัวดำ มีถิ่นกำเนิดในประเทศพม่า อินเดีย บังกลาเทศ และศรีลังกา
         



ตาราง แสดงระยะการเจริญเติบโตของหนอนหัวดำมะพร้าว

ระยะการเจริญเติบโต
ช่วงเวลา
เฉลี่ย
ระยะไข่
4 - 5 วัน
-
ระยะหนอน     วัยที่ 1
3 - 5
3.81
ระยะหนอน     วัยที่ 2
4 - 8
5.07
ระยะหนอน     วัยที่ 3
3 - 6
4.52
ระยะหนอน     วัยที่ 4
2 - 5
3.88
ระยะหนอน     วัยที่ 5
3 - 12
5.24
ระยะหนอน     วัยที่ 6
3 - 9
4.32
ระยะหนอน     วัยที่ 7
3 - 9
5.52
ระยะหนอน     วัยที่ 8
5 - 10
6.95
ระยะหนอน     วัยที่ 9
5 - 10
7.78
ระยะหนอน     วัยที่ 10
8 - 9
8.33
รวมระยะหนอน
32 - 48
41.92
ระยะดักแด้
9 - 11
10.24
ระยะตัวเต็มวัย
3 - 10
5.73



หนอนหัวดำ ตัวเต็มวัย
 ลักษณะการทำลายของหนอนหัวดำ

     หนอนหัวดำจะกัดแทะผิวใบแก่และจะสร้างใยถักพันโดยใช้มูลที่ถ่ายออกมา ผสมกับเส้นใยและสร้างขุึ้นคล้ายอุโมงค์ตามแนวยาวของใบมะพร้าว ตัวหนอนจะอาศัยอยู่ในอุโมงค์ที่มันสร้างขึ้นมาและแทะใบไปเรื่อยๆ



ใบต้นตาลที่ถูกหนอนทำลาย

ใบมะพร้าวที่ถูกหนอนทำลาย

ใบมะพร้าวที่ถูกหนอนทำลาย

พืชอาหารของหนอนหัวดำ

      พบว่าหนอนหัวดำมะพร้าว ลงทำลายพืชหลายชนิด  ได้แก่ มะพร้าว  ตาลโตนด  ตาลฟ้า
ปาล์มหางกระรอก  ปาล์กแวกซ์  จั๋ง  หมากเขียว อินทผลัม และกล้วยพัฒนาสายพันธุ์ ร้าว


ผลกระทบจากหนอนหัวดำ

     การทำลายของหนอนหัวดำนี้ จะทำให้ผลผลิตมะพร้าวลดลงมากกว่าร้อยละ 50 และจะทำให้ต้นมะพร้าวตายในที่สุด



 ที่มาข้อมูลและรูปภาพ: กรมวิชาการเกษตร